บ่อยครั้งที่การใช้งานคอมพิวเตอร์อาจเกิดความผิดพลาดบางประการขึ้นมาซึ่งแสดงเป็นรหัสความผิดพลาด หรือ Error Code แต่ผู้ใช้อย่างเราๆ กลับไม่ทราบว่ามันหมายถึงอะไร วันนี้เราจึงมีตัวอย่าง 49 Error Code มาฝากกัน
ถ้าคุณใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์อยู่เป็นประจำละก็ เชื่อได้เลยว่าต้องเคยพบกับรายงานความผิดพลาดอย่าง Error 126, STOP: 0x0000007B(0xF741B84C,0xC0000034,0x00000000,0x00000000) หรือไม่ก็ Error 0x800a0099 ที่ปรากฏขึ้นบนหน้าจอ “บลูสกรีน”
หรือแม้แต่แสดงผ่านแมสเสจ บ็อกซ์ ของวินโดวส์ ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะแจ้งว่าเกิดอะไรขึ้น และแนะนำให้คุณแก้ปัญหาเบื้องต้นนี้อย่างไร แต่เชื่อว่าน้อยคนนักที่จะสนใจและอ่านรายงานความผิดพลาดจนจบ เมื่อเจอกับข้อความ Error เข้า ส่วนใหญ่ก็จะไล่ปิดหน้าต่างหนีไปซะเลย ทำให้ปัญหาเหล่านั้นยังคงค้างคาอยู่ในเครื่อง และรอวันที่จะสร้างความเสียหายให้กับคอมพิวเตอร์ของคุณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งไม่ใช่เฉพาะส่วนของโปรแกรมเท่านั้น แต่ยังรวมถึงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ภายในเครื่องของคุณอีกด้วย ที่อาจจะเริ่มทำงานผิดปกติ แต่ผู้ใช้กลับไม่รู้ตัว เพราะมีเพียงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเท่านั้น ที่จะทราบถึงปัญหาความผิดปกติเล็กน้อยที่เริ่มก่อตัวขึ้น ดังนั้น ถ้าวันใดที่คุณพบ Error Code หรือรายงานความผิดพลาดแจ้งขึ้นมาอีก แนะนำให้ทำความเข้าใจกับมันก่อน คุณอาจจะจดเอาไว้ในกระดาษ แล้วค่อยไปค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ทีหลัง
Error Code ไม่หน้ากลัวอย่างที่คิด
การคิดไปล่วงหน้าเองว่า ตัวคุณจะรับมือกับความผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนคอมพิวเตอร์ และวินโดวส์โดยลำพังไม่ไหวนั้น ดูเหมือนว่าจะเป็นการยอมแพ้อะไรง่ายๆ ไปซักนิด เพราะถ้าคุณยังไม่ได้ลงมือทำ หรือแก้ปัญหาด้วยตนเองก็จะไม่รู้เลยว่า ทุกปัญหานั้นยังพอมีทางแก้ไข ถึงแม้บางทีจะไม่ได้เต็ม 100 เปอร์เซ็นต์ ก็ตามแต่อย่างน้อยมันก็ทำให้คุณรักษาข้อมูลสำคัญเอาไว้ได้เช่นกัน
เมื่อวินโดวส์หรัสความผิดพลาดอย่าง Error Code หรือ Error Message ต่างๆขึ้นมาอย่าเพิ่งตกใจชัตดาวน์เครื่องแล้วหนีปัญหาไปนะครับ ถ้าเป็นหน้าจอบลูสกรีน แล้วมีตัวหนังสือเยอะๆ หรือตัวเลขฐาน 16 ที่คุณไม่รู้ความหมายนั้น ให้อ่านข้อมูลคร่าวๆ ที่เป็นการแจ้งความผิดพลาดก่อนเป็นอันดับแรก จากนั้นให้จด Error Code หรืออาจจะเป็น Error Message ที่ปรากฏอยู่บนหน้าจอลงในกระดาษ คุณอาจใช้กล้องดิจิตอลถ่ายภาพเอาไว้ เพื่อเก็บรายระเอียดต่างๆ ให้หมด การค้นหาคำตอบหรือความหมายของรหัสความผิดพลาดเหล่านั้นให้เริ่มต้นจาก Help ของวินโดวส์ก่อน ถ้าไม่พบข้อมูลที่ต้องการก็ให้ค้นหาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูล เว็บไดเรกทอรีต่างๆโดยเฉพาะที่เว็บ http://support.microsoft.com นั้น เป็นแหล่งข้อมูลชั้นดี ที่ควรเข้าไปใช้บริการบ่อยๆ เพราะเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์โดยตรง แต่บางที การค้นหาเอาตามเว็บบอร์ดไอทีต่างๆ อาจได้คำตอบเร็วกว่าที่คิด เพราะมีคนเข้าออกและผ่านเข้ามาตอบปัญหาให้เป็นจำนวนมาก
วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2552
วิธีกู้ Windows XP แบบไม่ต้องลงใหม่
ถ้าวินโดวส์มีป้ญหาไม่สามารถบู๊ตขึ้นภาพ Windows XP คุณๆจะมีวิธีของตนเอง เช่น เอาไฟล์ที่ ghost ไว้มาใช้ แต่ก็ปัญหาคือ ไฟล์ที่ได้ไม่ใช่ข้อมูลปัจุบัน หรือ format ลงวินโดวส์ใหม่ชึ่งไม่ใช่เรื่องที่ดีเลยต้องลงโปรแกรมใหม่เป็นสิบตัว ยังต้องเสียเวลา Crack อีก ข้อมูลที่คุณทำไว้ก็หายหมด เรามีวิธีการกู้แบบง่ายๆ ไปหาวิธีแบบยาก แล้วแต่เหตุการณ์ และสาเหตุ ซึ่งจะมีเทคนิคดังนี้
3.เอาแผ่นดิสก์ที่ทำไว้แล้วตามข้อ 1 ใส่ไปที่เครื่อง ออกไปที่ DOS Prompt แล้วพิมพ์คำสั่งก๊อปปี้ไฟล์ตามข้างล่างนี้
1.เมื่อเข้าหน้าจอ Windows to Setup หน้าแรก ให้คุณกด Enter ผ่านขั้นตอนนี้ไป
เทคนิคที่ 1 กู้แบบง่ายๆ
-สาเหตุ : ปกติคุณๆ มักชอบติดตั้งโปรแกรมใหม่ๆ เพิ่มเติม ผลปรากฎว่าเมื่อติดตั้งแล้วพอบู๊ตใหม่กลับบู๊ตไม่ขึ้ น สาเหตูอาจมาจากโปรแกรมที่ติดใหม่ ติดตั้งไฟล์ระบบตัวเก่าทับตัวใหม่ ทำให้วินโดวส์ไม่รู้จักไฟล์ระบบ เลยทำให้เกิดหน้าจอดำค้างไม่บู๊ตเข้าหน้าจอเดสก์ทอป
-วิธีแก้ไข : อาจจะใช้วิธี System Restore ใน Safe Mode โดยกดปุ่ม F8 ค้างไว้ ขณะบู๊ตเครื่องใหม่ แล้วเลือกไปที่หัวข้อ Safet Mode กู้วันที่ย้อนหลังครั้งล่าสุดที่ไม่ได้ติดตั้งโปรแกรม หรือจะให้สะดวกกว่านี้ก็ให้เลือกหัวข้อ "Last Know Good Configuration" ก็จะกู้ระบบครั้งล่าสุดให้ทันที ทำให้บู๊ตเข้าวินโดว์ส ได้ตามเดิม
เทคนิคที่ 2 ก๊อปปี้ไฟล์ระบบ 3 ตัวทับไฟล์ระบบเดิม
-สาเหตุ : ถ้าวินโดวส์ไม่บู๊ตหรือรันหน้าต่าง Start up...Windows XP เลย อาจเป็นที่ไฟล์ Boot Sector ของไฟล์ระบบเสีย หรือมีปัญหาขัดแย้งกับไฟล์ ntldr หรือ ntdetect.com ทำให้บู๊ตไม่ขึ้นภาพ
-วิธีแก้ไข : ให้ก๊อปปี้ไฟล์ระบบจากเครื่องอื่นที่ลง Windows XP เหมือนกันหรือคุณจะก๊อปปี้ไฟล์ระบบที่เครื่องคุณเอาไ ว้ก่อนที่เครื่องจะมีปัญหาก็ได้ ด้วยใช้คำสั่ง xcopy ผ่านโหมด command line โดยทำตามขั้นตอนดังนี้
1. ก๊อปปี้ 3 ไฟล์ข้างนี้ โดยใส่แผ่นเปล่า (1.44MB)ลงในไดรว์ a: เมื่อก๊อปปี้เสร็จเอาเก็บไว้ใช้ในขั้นตอนต่อไป
2.บู๊ตเครื่องใหม่ แล้วกดปุ่ม F8 ค้างไว้ เพื่อไปหน้าจอ Safe Mode
3.เอาแผ่นดิสก์ที่ทำไว้แล้วตามข้อ 1 ใส่ไปที่เครื่อง ออกไปที่ DOS Prompt แล้วพิมพ์คำสั่งก๊อปปี้ไฟล์ตามข้างล่างนี้
4.กดปุ่ม enter ตามหลังคำสั่ง
5. บู๊ตเครื่องใหม่อีกครั้ง ก็จะสามารถเข้าหน้าเดสก์ทอปของวินโดวส์ได้ตามเดิม
เทคนิคที่ 3 ซ่อมวินโดวส์ ด้วยแผ่นบู๊ต Boot CD Rom
เทคนิคที่ 3 ซ่อมวินโดวส์ ด้วยแผ่นบู๊ต Boot CD Rom
-สาเหตุ : ปัญหานี้ส่วนใหญ่ สืบเนื่องจากการติดตั้ง Patch file ตัวใหม่ๆ แล้วไม่สามารถรองรับไฟล์ระบบของวินโดวส์หรือก็อปปี๊ไ ฟล์ .dll, .vdx, .inf ผิดเวอร์ชั่น หรือเผลอลบไฟล์ระบบบางตัว ก็เป็นสาเหตุได้ ฉะนั้นหากแก้ด้วยวิธีที 1,2 ไม่หาย ก็ต้องใช้วิธีที่ 3 ซ่อมแซมไฟล์ระบบใหม่ แทนที่จะเสียเวลาติดตั้งใหม่ วิธีนี้ก็จะช่วยย่นเวลาให้น้อยลง
-วิธีแก้ไข : เตรียมแผ่นบู๊ต CD Windows (แผ่นติดตั้งวินโดวส์) ใส่ใน CD-ROM แล้วบู๊ตเครื่องใหม่ จากนั้นทำตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.เมื่อเข้าหน้าจอ Windows to Setup หน้าแรก ให้คุณกด Enter ผ่านขั้นตอนนี้ไป
2.จากนั้นก็จะเข้าหน้าจอ windows XP Lincesing Agreement หน้าที่สอง กดปุ่ม F8 เพื่อยอมรับการติดตั้งใหม่
3.เมื่อเข้าหน้าจอการติดตั้ง Windows XP Pro..Setup เลือกไดรฟ์ที่ติดตั้ง แล้วกดตัว R เพื่อซ่อมแซ่มไฟล์ที่สูญหายให้กลับคืนมาดังเดิม เมือเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรมต่างๆที่ติดตั้งไปก็ย ังคงใช้ได้เหมือนเดิมไม่ต้องติดตั้งใหม่ให้เสียเวลา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)